อ.ดร.เอนก สุวรรณบัณฑิต:
วิทยาศาสตร์ คือ การค้นหาความจริง เป็นการค้นหาความรู้เชิงวัตถุเกี่ยวกับธรรมชาติ (The search for truth: A quest for objective knowledge about Nature) ดังนั้น จึงประกอบไปด้วยเนื้อหาของวิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและคณิตศาสตร์ เป็นสำคัญ
หน้าที่ของวิทยาศาสตร์
- ตอบสนองความต้องการของสังคมและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ (Serving society’s needs and improving people’s lives)
- เติมเต็มความต้องการของมนุษย์ (Made up of people with human needs and desires)
- เกี่ยวข้องกับการอบรม มาตรฐาน อาชีพ การเคารพและความเป็นส่วนตัว (Involving training, standards, a career, respect, and privilege)
วัตถุประสงค์ของวิธีการวิทยาศาสตร์
- เพื่อค้นพบความจริงหรือตอบสนองความอยากรู้ในสิ่งเดียวกัน (o discover truth or satisfy curiosity — the same thing)
- เพื่อความก้าวหน้าขององค์ความรู้ (to advance knowledge)
- เพื่อการมีชื่อเสียงและการยอมรับ (to become famous and well-respected)
- เพื่อให้ได้งานและมีงานที่ดี (to get and keep a good job)
- เพื่อการมีชีวิตที่ดีและมีความสุข (to live well and happy)
ปัญหาจริยศาสตร์ในวงการวิทยาศาสตร์
- อะไรคือสิ่งถูกต้องที่ควรทำ (What is the right thing to do?)
- เราต้องการกรอบการตัดสินใจเชิงจริยธรรม (We need a framework for making ethical decisions)
ประเภทของปัญหาตามแนวคิดวิทยาศาสตร์
- ความผิดพลาด (Mistakes)
- ความคลาดเคลื่อน (Noncompliance)
หลักจริยธรรมในวงการวิทยาศาสตร์ (Ethical issue)
- ไม่เป็นการทำร้ายผู้อื่นและตนเอง (Don’t harm others or yourself)
- ช่วยผู้อื่นและตนเอง (Help others and yourself)
- เคารพความจริง ไม่โกหก หลอกลวง (Respect truth: don’t lie, cheat, deceive)
- มีศรัทธาต่อคำสัญญาและข้อตกลงต่างๆ (Be faithful: keep promises and agreements)
- ยุติธรรมและเสมอภาค (Be fair: treat equals equally)
การตัดสินใจเชิงจริยธรรม (Ethical decision)
- Can I justify the choice?
- Can I live with it afterwards?
- Are there others who can advise me?
- Gut feelings?
ปัญหาที่ยังคลุมเครืออยู่ (Ethical dilemma)
- ความจริงที่ได้ กับ ความต้องการของผู้ให้ทุน (ผู้จ่ายเงิน) )Truth versus employer’s (funder’s) desired outcome)
- ความต้องการของคนทำงานกับความต้องการของสังคม (Employer’s needs versus societal needs)
- ความต้องการในการก้าวหน้า กับ ความจริงที่ได้มา (Need for advancement (funding, hiring, riches…) versus truth)
- ความจริงกับการเปิดหรือปิดเป็นความลับ (Truth and openness versus secrecy)
- ความร่วมมือหรือการแข่งขัน (Cooperation versus competition)
- ข้อขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ (Conflicts of interest)
- ข้อข้ดแย้งของความเกี่ยวพัน (Conflicts of commitment)
การตอบคำถามอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ (Scientific Answer)
- ควรจะเชื่อว่ายังมีข้อผิดพลาดต่างๆ เหลืออยู่ (They should make faithful estimates of the errors that remain)
- ควรที่จะนำเสอนผลลัพธ์โดยเชื่อว่าเป็นเพียงข้อมูลอย่างหนึ่ง (They should present results that are faithful to the data)
สรุป
วิทยาศาสตร์เป็นวิธีการค้นพบความจริง มนุษย์จึงเชื่อวิธีการวิทยาศาสตร์ แต่วิทยาศาสตร์เองก็มีประเด็นจริยธรรมของตนเองและต้องการคำตอบอย่างวิทยาศาสตร์ที่จะทำให้เข้าใจได้อย่างวิทยาศาสตร์ และการนำวิทยาศาสตร์มาใช้ตอบปัญญาจริยศาสตร์ของสังคมก็จะต้องปรับเนื้อหาให้สอดคล้องผ่านการตีความใหม่ด้วยเสมอ